รูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อรองรับนโยบายเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน”

DEVELOPMENT PLAN FOR MANPOWER OF VOCATIONAL EDUCATION TO SUPPORT THE POLICY OF MODEL CITIES UNDER THE TRIANGLE OF STABILITY, PROSPERITY, AND SUSTAINABILITY

Authors

  • ราตรีสวัสดิ์ ธนานันต์
  • เรชา ชูสุวรรณ
  • ชวลิต เกิดทิพย์

Keywords:

การจัดการอาชีวศึกษา, เมืองต้นแบบ, รูปแบบความร่วมมือ, Provision of vocational education, Model cities, Cooperation patterns

Abstract

วิจัยเรื่อง รูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาร่วมกันระหว่างภาครัฐและเอกชนเพื่อรองรับนโยบายเมืองต้นแบบ “สามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาร่วมกับภาครัฐและเอกชน เพื่อรองรับนโยบายเมืองต้นแบบสามเหลี่ยมมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน การวิจัยครั้งนี้ใช้รูปแบบการวิเคราะห์เอกสารที่อยู่ในรูปทฤษฎี แนวคิดมาตรีความ (Cooper, 2007) เพื่อให้ได้เนื้อหาที่เป็นหมวดหมู่เดียวกัน โดยใช้วิธีบรรยาย ( Jamaramarn & ThanaratchPhoom, 2003) และการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญ 6 คน (Morse, 1985) ทั้งนี้พบว่ารูปแบบความร่วมมือในการจัดการศึกษาอาชีวศึกษาร่วมกับภาครัฐและเอกชนเพื่อรองรับนโยบาย เมืองต้นแบบสามเหลี่ยม มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน รูปแบบที่ง่ายสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ 1) องค์กรธุรกิจหรือราชการร่วมกับวิทยาลัยอาชีวศึกษา ต่างคนต่างดำเนินภารกิจ แต่อาจเอื้อเฟื้อกันได้ เช่น โรงเรียนเอกชนหรือโรงเรียนรัฐ ส่งลูกศิษย์เรียนต่ออาชีวศึกษา โดยรับโควตา 2) แสวงหาความร่วมมือภาครัฐและเอกชนในการแสวงหาปัจจัยนำเข้า บุคลากรที่จะเข้าเรียน บุคลากรที่จะช่วยสอนพิเศษ วัสดุ งบประมาณ จะให้เปล่าหรือมีเงื่อนไขความตกลง 3) ร่วมมือในกระบวนการสอน ประเมินผลการฝึกงาน การเสริมสร้าง คิดค้นประดิษฐ์ Hard skill, Soft skill จนตามเป้าหมาย  The research entitled “Development Plan for Manpower of Vocational Education to Support the Policy of Model Cities under the Triangle of Stability, Prosperity, and Sustainability" aimed to study the cooperation patterns in the provision of vocational education with the public and private sectors and to support the policy of model citifies under the Triangle of Stability, Prosperity, and Sustainability. Theoretical document analysis and concept interpretation (Cooper, 2007) were used for this research to classify content into the same category by using descriptive method (Jamaramarn and ThanaratchPhoom, 2003). It was found that there were 6 patterns of the cooperation in the management of vocational education with the public and private sectors to support the policy of model cities of the Triangle of Stability, Prosperity, and Sustainability. However, based on the system theory, only 4 patterns could be formed.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.

นิศาชล รัตนมณี, เฉลิมชัย กิตติศักดิ์นาวิน และนลินณัฐ ดีสวัสดิ์. (2561). การพัฒนาองค์การโดยใช้พันธมิตรเชิงกลยุทธ์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 12(27), 175-186.

ประยุทธ์ จันทร์โอชา. (2559). โครงการผู้นำเพื่อพัฒนาการศึกษาที่ยั่งยืน CONNEXT ED (Leadership Program for Sustainable Education) ภายใต้โครงการสานพลังประชารัฐ. กรุงเทพฯ: สำนักงานรัฐมนตรี.

ปรีดี บุญซื่อ. (2559). อาชีวศึกษา “ระบบคู่ขนาน” ของเยอรมัน ความสำเร็จที่กลายเป็นแบบอย่างแก่นานาประเทศ. เข้าถึงได้จาก https://thaipublica.org/2016/10/pridi13/

ศูนย์ประสานงานการบริหารการศึกษาจังหวัดชายแดนภาคใต้, 2560). ผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560. ปัตตานี: ศปบ.จตช.

สำนักการศึกษาและนวัตกรรมการเรียนรู้. (2563). หลักสูตรการเรียนการสอนในลักษณะร่วมผลิตระหว่างสถาบันอุดมศึกษาและสถานประกอบการ (Cooperative and work integrated education). สงขลา : มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2561). การเขียนแผนความร่วมมือด้านการศึกษาของภาครัฐและเอกชน. กรุงเทพฯ: สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา. (2558). ความร่วมมือภาครัฐและเอกชนในการจัดการอาชีวศึกษา. เข้าถึงได้จาก http://www.vec.go.th/ข่าว/บริหารจัดการข่าว/รายละเอียดข่าว/tabid/103/ArticleId/3182/language/th-TH/Default.aspx

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ. (2562). การบริหารงานภาครัฐแบบมีส่วนร่วม. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2555). รายงานการวิจัย แนวทางส่งเสริมการเพิ่มสัดส่วนผู้เรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายสายอาชีพตามเป้าหมายในแผนการศึกษาแห่งชาติ ฉบับปรับปรุง (พ.ศ. 2552-2559). กรุงเทพฯ: สกศ.

สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.), (2560). แนวทางการส่งเสริมกลุ่มธุรกิจ SMEs ที่มีการเติบโตสูงของประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สสว.

สุธาทิพย์ สวนมะลิ และธนารักษ์ ธีระมั่นคง. (2563). ทักษะมนุษย์ในโลก AI กับการศึกษา ที่ต้อง Transform. เข้าถึงได้จาก https://www.nationweekend.com/content/advertise/5108

สุรชัย เทียนขาว. (2562). เดินหน้าประเทศไทย นโยบายการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ต่อกันเป็นสะพาน. เข้าถึงได้จาก https://www.matichon.co.th/article/news_1627611

อุมา ศรีสุข. (2561). การบริหารจัดการแบบร่วมมือกันระหว่างภาครัฐ และภาคส่วนต่าง ๆ ในสังคม. เข้าถึงได้จาก http://wiki.ocsc.go.th/_media/อุมา_ศรีสุข15.pdf

Agranoff, R., & McGuire, M. (2003). Collaborative public management: New strategies for local governments. Washington, DC: Georgetown University Press.

Cooper, H. (2007). Evaluating and interpreting research syntheses in adult learning and literacy. Cambridge MA: National Center for the Study of Adult learning and Literacy.

Jamaramarn, U., & Thanaratchataphoom, T. (2003). Synthesis of research related to selection of candidates to study in higher education institutions. Journal of Education, Prince of Songkhla University, Pattani Campus, 15(2), 35-45.

Kline, R. B. (2005). Principles and practice of Structural Equation Modelings (2nd ed.). NJ: Prentice-Hall Inc.

Kotler, P. (2012). Marketing management. New Jersey: Prentice Hall

Lunenburg, C. & Ornstein, C. (2012). Educational administration: Concepts and practices (6th ed.). BelMont CA: Wadsworth.

Robbins, S., Bergman, R., Stagg, I., & Coulter, M. (2006). Management. (4th ed.). New York: McGraw-Hill.

Porter, M. E. (1980). Competitive strategy: Techniques for analyzing industries and competitors. New York: The Free Press.

Porter, M. E. (1985). Competitive advantage: Creating and sustaining superior performance. New York: The Free Press.

Wongwanit, S. (2002). A synthesis of needs assessment techniques used in students' theses of Faculty of Education, Chulalongkorn University. Journal of Research Methodology: JRM, 15(2), 255-277.

Downloads

Published

2022-11-25