แนวคิดนักกฎหมายแบบอนุรักษ์นิยม : การตีความรัฐธรรมนูญด้วยกรอบแนวคิดปัญญาชน
The Conservative Ideas of Legal Scholars: Constitutional Interpretation Under the Intellectual Framework
Keywords:
นักกฎหมาย, รัฐธรรมนูญ, ปัญญาชนAbstract
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะและแนวคิดของปัญญาชนนักกฎหมายในทางอนุรักษ์นิยม เป็นการศึกษาวิจัยในเชิงพรรณนา (Descriptive Research) โดยใช้วิธีการศึกษาจากเอกสาร (Documentary Research) โดยเป็นข้อมูลที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปของเอกสารและรูปแบบเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ ผลการวิจัยพบว่า นักกฎหมายแบบอนุรักษ์นิยมนั้นมีลักษณะการเมืองในแบบปัญญาชนที่ข้ามชนชั้นได้ ตามหลักองค์ประกอบทฤษฎีการครองอำนาจนำ (Hegemony Theory) ที่มีการยึดโยงอำนาจไว้กับชนชั้นนำในสังคม โดยมีการสร้างคำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญที่สื่อความหมายในทางประชาธิปไตยแบบไทยที่มีลักษณะ เฉพาะ ด้วยการนำเสนอหลักกฎหมายด้วยคติความเชื่อทางวัฒนธรรมและอุดมการณ์ ซึ่งมีการเข้ายึดกุมพื้นที่ทางความคิดของคนในสังคม โดยมีลักษณะการเสนอคำอธิบายกฎหมายรัฐธรรมนูญแบ่งเป็นแนวคิด แบ่งเป็นสามประเด็นสำคัญดังนี้ ประการแรก แนวคิดอำนาจอธิปไตยเป็นของสถาบันชนชั้นปกครองร่วมกับประชาชน ประการที่สอง แนวคิดการสถาปนากฎหมายรัฐธรรมนูญนั้นถือกำเนิดโดยชนชั้นปกครอง และประการที่สาม แนวคิดการสร้างคุณลักษณะเฉพาะทางการเมืองผ่านจารีตประเพณี The purpose of this paper is to study the characteristics and concepts of conservative legal scholars. Through the method of descriptive research: the data used in this study were published in the form of electronic publications. The results show that the conservative legislators have “Tradition Intellectuals” characteristics according to the hegemony theory elements that have been tied to the elites in society, a description of constitutional law that conveys Thai democracy is created in a unique way. By presenting the law with cultural and ideological beliefs, which have taken over the mental space of people in society, the constitutional law is presented as follows: first the concept of sovereignty belongs to the institutions of the ruling class together with the people. Secondly, the concept of the establishment of constitutional law was born by the ruling class. The concept of creating politically specific attributes through tradition.References
กัปค์ฤทัย ปุงคานนท์. (2552). การปลูกฝังอุดมการณ์ประชาธิปไตย ศึกษาผ่านหนังสือเรียนสังคมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา เศรษฐศาสตร์การเมือง, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กมลวรรณ ชื่นชูใจ. (2563). ความคิด “ปีศาจ”: นิติราษฎร์, พรรคอนาคตใหม่, กับการสร้างการเมืองแห่งความหวัง. CMU Journal of Law and Social Sciences, 13(2), 87-119.
เก่งกิจ กิติเรียงลาภ. (2550). Hegemony โดยสังเขป และวาทกรรมของแนวชุมชน. วันที่ค้นข้อมูล 30 เมษายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2007/02/11572
เกรียงศักดิ์ เชษฐพัฒนวนิช. (2536). แนวความคิดประชาธิปไตยแบบไทย. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เกษียร เตชะพีระ. (2554). ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข : ที่มาที่ไป. ฟ้าเดียวกัน, 9(1), 89-114.
จาตุรงค์ สุทาวัน และนวภัทร โตสุวรรณ์. (2563). ผลทางการเมืองที่เกิดจากคำพิพากษาของศาลรัฐธรรมนูญภายหลังการรัฐประหาร พ.ศ. 2549. The Journal of Law, Public Administration and Social Science, School of Law Chiang Rai Rajabhat University, 5(1), 213-226.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2544). ประวัติศาสตร์ไทยแบบราชาชาตินิยม จากยุคอาณานิคมอำพรางสู่ราชาชาตินิยมใหม่หรือลัทธิเสด็จพ่อของกระฎุมพีไทยในปัจจุบัน. วันที่ค้นข้อมูล 23 มีนาคม 2563, เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2014/08/55233
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. (2548). ความคิด และความรู้อำนาจทางการเมืองในการปฏิวัติสยาม. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
บวรศักดิ์ อุวรรณโณ (2537). กฎหมายมหาชนเล่ม 2: การแบ่งแยกกฎหมายมหาชน - เอกชน และพัฒนาการกฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2560). กฎหมายรัฐธรรมนูญ : การก่อตั้งรัฐธรรมนูญและการแก้ไขรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสารประกอบการสอนคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562ก). รัฐธรรมนูญ ประวัติศาสตร์ข้อความคิด อำนาจสถาปนาและการเปลี่ยนผ่าน. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
ปิยบุตร แสงกนกกุล. (2562ข). ศาลรัฐประหาร : ตุลาการ ระบอบเผด็จการ และนิติรัฐประหาร. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
มติชนรายวัน. (2549). บทสัมภาษณ์มีชัย ฤชุพันธุ์ “ใน 6 ทศวรรษ...อัจฉริยภาพทางรัฐธรรมนูญ”. สัมภาษณ์ โดยหทัยกาณจน์ ตรีสุวรรณ, มติชนรายวัน, 12 มิถุนายน 2549, หน้า 11
รัฐกมล ค้อสุวรรณดี. (2558). การครองอำนาจนำ ของพรรคการเมืองในพื้นที่ประชาสังคม : ศึกษากรณีพรรคไทยรักไทย ระหว่างปี พ.ศ.2544-2554. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, สาขาวิชาการเมือง,
คณะรัฐศาสตร์, มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วัชรพล พุทธรักษา. (2557). กรัมชีกับการเมืองไทย” : อำนาจเก่ากำลังจะตาย อำนาจใหม่ยังไม่สถาปนา วันที่ค้นข้อมูล 29 เมษายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2014/06/54315
วัชรพล พุทธรักษา. (2549). รัฐบาลทักษิณกับความพยายามสร้างภาวะการครองอำนาจนำ. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการปกครอง, ภาควิชาการปกครอง, คณะรัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิษณุ เครืองาม. (2530). กฎหมายรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: นิติบรรณการ.
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2555). คำสอนว่าด้วยรัฐและหลักกฎหมายมหาชน. กรุงเทพฯ: โครงการตำราและเอกสาร ประกอบการสอน คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2564). ประวัติศาสตร์ความคิดนิติปรัชญา. กรุงเทพฯ: อ่านกฎหมาย.
ศุภณัฐ บุญสด. (2562). บทบาทของนักกฎหมายไทยกับการรัฐประหารเพื่อนำมาสู่ระบอบเผด็จการ : ศึกษากรณีรัฐประหาร 22 พฤษภาคม 2557. CMU Journal of Law and Social Sciences, 12(2). 123-156.
สมชาย ปรีชาศิลปกุล. (2563). รัฐธรรมนูญคณะราษฎรในประวัติศาสตร์ (กฎหมาย) กษัตริย์นิยม. วันที่ค้นข้อมูล 24 มีนาคม 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.the101.world/khana-ratsadon-constitutions-in-the-history-of-royalist-law/#
สุรพศ ทวีศักดิ์. (2562). เสรีนิยมกับอนุรักษ์นิยมอยู่ร่วมโลกกันได้ไหม. วันที่ค้นข้อมูล 29 เมษายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://prachatai.com/journal/2019/04/81980
เสนีย์ ปราโมช. (2509). ศิลาจารึกพ่อขุนรามคำแหง. ดุลพาหะ, 13(2), 25-26.
อมร จันทรสมบูรณ์. (2537). คอนสติติวชั่นแนลลิสม์ (Constitutionalism) ทางออกประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.
MGR Online. (2549). เปิดประวัติ วิษณุ เครืองาม ‘เนติบริกร’ รัฐบาลทักษิณ. วันที่ค้นข้อมูล 25 เมษายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://mgronline.com/politics/detail/9490000081599
Prachathai TV. (2555). ถาม-ตอบ ปัญหาข้ามศตวรรษ --- ปราบ เลาหะโรจนพันธ์ และเวียงรัฐ เนติโพธิ์ ---นิธิ เอียวศรีวงศ์ และชาญวิทย์ เกษตรศิริ (ตอบ) อัครพงษ์ ค่ำคูณ (ดำเนินรายการ). วันที่ค้นข้อมูล 4 เมษายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.youtube.com/results?search_query=%E0%B8%95%E0%B8%AD%E0%8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%B1%E0%B8%8D%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%95%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%A9
Post Today. (2556). อมร แนะขอพระราชทาน รธน. ฉบับปฏิรูป. วันที่ค้นข้อมูล 24 เมษายน 2563, เข้าถึงได้จาก https://www.posttoday.com/politic/news/262041
Bourdieu, P. (1995). Outline of a Theory of Practice. (R. Nice Trans.). Cambridge: Cambridge University. (Original work published 1977)
Elster, J. (1995). Forces and mechanisms in the constitution-making process. Duke LJ, 45, 364.
Hoare, G., & Sperber, N. (2015). An Introduction to Antonio Gramsci: His Life, Thought an Legacy. London: Bloomsbury Academic.
Schmitt, C. (2008). Constitutional theory. Durham, USA: Duke University Press.