การใช้สารสกัดจากพืชบางชนิดในการลดอัตราการฟักของดักแด้แมลงวันผลไม้ Bactocera dorsalis Hendel.

The Use of Some Plant Crude Extracts for Reduction of Emergence Rate of Bactocera dorsalis Hendel.

Authors

  • ดวงตา จุลศิริกุล
  • ไตรทิพ นภาลัย
  • อุษา มงคลฉัตร

Keywords:

สารสกัดหยาบจากพืช, ดักแด้, Bactocera dorsalis Hendel, Plant crude extract, Pupae

Abstract

การศึกษาประสิทธิภาพของสารสกัดหยาบจากพืช 4 ชนิดด้วย 80% เมธานอล ได้แก่ ใบยาสูบแห้ง ใบหางไหลสดเหง้าข่า และเปลือกส้ม ในการควบคุมอัตราการฟักเป็นตัวของดักแด้แมลงวันผลไม้ Bactocera dorsalis Hendel พบว่าสารสกัดจากพืชทั้ง 4 ชนิดสามารถลดอัตราการฟักเป็นตัวของแมลงวันผลไม้ B. dorsalis ได้อย่างมีนัยสำคัญ (p<0.05) โดยสารสกัดจากใบยาสูบแห้งออกฤทธิ์ลดอัตราการฟักเป็นตัวของแมลงวันผลไม้ได้ดี โดยอัตราการฟักเป็นตัวของดักแด้ในทุกอายุมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 0.00% และเมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอายุของดักแด้กับอัตราการฟักเป็นตัวของแมลงวันผลไม้ พบว่า สารสกัดทุกชนิดให้ผลยับยั้งอัตราการฟักเป็นตัวของแมลงวันผลไม้อายุน้อยได้ดีกว่าดักแด้ที่มีอายุมาก  Efficacy of 80% methanol crude extract of dried tobacco leaves, fresh derris leaves, galangal rhizome and orange peel on the emergence rate of Bactocera dorsalis Hendel pupae was studied. The crude extract of all plants significantly reduced the percentage of emergence of adult fly (p<0.05). The crude extract of dried tobacco leaves showed the highest potency on reduction of rate emergence. In the analysis of relationship between age of pupae and rate of emergence, it was found that all plant crude extracts showed higher potential of inhibition on the emergence of young pupae than old pupae.

References

ผุสดี สายชนะพัทธ์ และพันธิตร์ มะลิสุวรรณ. (2546). สมุนไพรกำจัดแมลงศัตรูพืช. กรุงเทพฯ : ศรีสยามพริ้นแอนด์แพคก์.

สังวาล สมบูรณ์ และสุภาณี พิมพ์สมาน. (2546). ศักยภาพของการใช้น้ำมันระเหยง่ายจากพืชตระกูล Zingiberaceae ในการควบคุมมอดแป้ง. วารสารวิทยาศาสตร์การเกษตร, 4(6), 183-186.

สารสิน อุยยานนท์, สุเทพ ศิลปานันทกุล และวงศ์วิวรรธ ธนูศิลป์. (2542). การประเมินผลการใช้สารสกัดจากใบยาสูบเพื่อทำลายหนอนแมลงวันบ้านในห้องปฏิบัติการ. สาธารณสุขศาสตร์, 29(2), 17-24.

สุภาณี พิมพ์สมาน. (2537). สารฆ่าแมลง. กรุงเทพฯ โครงการทางตำราและเอกสารทางวิชาการ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

อินทวัฒน์ บุรีคำ. (2537). บทปฏิบัติการกีฏวิทยาทางการเกษตร. กรุงเทพฯ : รุ่งวัฒนา.

Boeke, S.J., Baumgart, I.R., Van Loon, J.J.A., Van Huis, A., Dicke, M., & Kossou, D.K. (2004). Toxicity and Repellence of African Plants Treaditionally Used for The Protection of Stores Coepes Against Callosobruchus malacutus. Journal of Stored Products Research, 40, 423-438.

Cloyd, R.A. (2004). Natural Indeed: Are Natural Insecticides Safer and Better Than Conventional Insecticides. Illinois Pesticide Review, 17(3), 1-3.

Dadang, S. Riyanto, & Ohsawa, K. (1998). Lethal and Antifeedant Substance from Rhizome of Apinia galangal SW. (Zingiberaceae). J. Pesticide Sci., 23, 304-307.

Department of Agriculture Thailand. (1991). Biological Control of Insect Pest. Bangkok.

Ezeonu, F.C., Chidume, G.I., & Udedi, S.C. (2001). Insecticidal Properties of Volatile Extracts of Orange Peels. Bioresource Technology, 76, 273-274.

Downloads

Published

2024-06-28