การพัฒนารูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานอิงสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน

Authors

  • รัตนะ บัวสนธ์
  • สำราญ มีแจ้ง
  • สายฝน วิบูลรังสรรค์
  • ปุณิกา ศรีติมงคล

Keywords:

การประเมินผลงาน, สมรรถนะ, อาสาสมัครสาธารณสุข

Abstract

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานอิงสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านวิธีดำเนินการวิจัยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนาแบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอนคือขั้นตอนที่ 1 ศึกษาสมรรถนะแนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานอิงสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยการสัมภาษณ์และสนทนากลุ่มผู้เกี่ยวข้องกับการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขขั้นตอนที่ 2 สร้างและตรวจสอบรูปแบบโดยการยกร่างรูปแบบการประเมินจัดประชุมสัมมนาผู้เชี่ยวชาญปรับปรุงและประเมินรูปแบบการประเมินเบื้องต้นโดยผู้เชี่ยวชาญด้านการประเมินผลการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขจำนวน 14 คนขั้นตอนที่ 3 ทดลองใช้กับอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอำเภอนิคมพัฒนาจังหวัดระยองจำนวน 20 คนและขั้นตอนที่ 4 ประเมินรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานอิงสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านโดยประยุกต์แนวทางการประเมินแบบตอบสนอง (Responsive evaluation approach)          ผลการวิจัยปรากฏว่ารูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานอิงสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือขั้นพัฒนาประกอบด้วยวัตถุประสงค์การประเมินมาตรฐานสมรรถนะสมรรถนะตัวชี้วัดและเกณฑ์เกณฑ์การตัดสินผลการประเมินเทคนิคการประเมินผู้ประเมินและผู้รับการประเมินระยะเวลาในการประเมินขั้นดำเนินการประเมินเป็นการทำความเข้าใจกับทุกฝ่ายโดยการประชุมเชิงปฏิบัติการผู้ประเมินและการประชุมชี้แจงผู้รับการประเมินเก็บรวบรวมข้อมูลดำเนินการประเมินและคู่มือการประเมินขั้นสรุปผลการประเมินเป็นการสรุปผลรายบุคคลและในภาพรวมขั้นการให้ข้อมูลย้อนกลับประกอบด้วยการให้ข้อมูลย้อนกลับแก่อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเป็นรายบุคคลและภาพรวมรวมทั้งการนำผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาศักยภาพของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านเมื่อนำรูปแบบการประเมินผลการปฏิบัติงานอิงสมรรถนะของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านไปใช้ในสถานการณ์จริงพบว่าอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านดีเด่นมีผลการประเมินผลการปฏิบัติงานอิงสมรรถนะสูงกว่ากลุ่มอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านทั่วไปอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้ตามเกณฑ์ด้านความเหมาะสมความเป็นประโยชน์ความเป็นไปได้และความถูกต้องครอบคลุมอยู่ในระดับมาก          The purpose of this study was to develop an evaluation model for the evaluation of the competency basedperformance of village health volunteers. The development approach was divided into four mainstages. The first was the study of the competency and the evaluation model through focus group andinterviews. The second step was the construction and examination of the evaluation model. After a draftmodel was made, the initial evaluation was made through a critique meeting of 14 experts in the field ofevaluation of village health volunteers. The third step was the application of the model on 20 village healthvolunteers in Amphur Nikhomphattana, Rayong. The last step was the evaluation of the model by theapplication of the responsive evaluation approach.          The results showed that the competency-based performance evaluation model for the village healthvolunteers comprised of 4 significant steps. The development step comprised the evaluation objectives,competency standards, performance indicators and criteria, instruments, evaluator, time of evaluation, andcriteria to assess evaluation results. In the implementation step, there was a critique meeting of evaluator andevaluate. Data collection and the handbook of the evaluation model was used. In the next step, individual andoverall conclusion were drawn. In the last step, feedback was used to improve volunteers’ competency. Theresults of the implementation of the evaluation model found that competent persons had higher competencyscores than normal persons (p < .01). Therefore, this competency-based performance evaluation model forthe village health volunteers was highly acceptable in terms of propriety, utility, feasibility and accuracy

Downloads