การศึกษาเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของโมเดลวินิจฉัยเชิงจําแนกในการวินิจฉัยทักษะความสามารถทางพุทธิปญญา
Keywords:
ปัญญา, การวินิจฉัยเชิงจำแนก, การแก้ปัญหาสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวAbstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาและเปรียบเทียบประสิทธิภาพของโมเดลที่นํามาใชในการวินิจฉัย ทักษะความสามารถทางพุทธิปญญา ในการแกปญหาเรื่องสมการเชิงเสนตัวแปรเดียวของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตนรวมทุกระดับชั้น และกลุมของนักเรียนที่มีระดับชั้น เพศ และแผนการเรียน แตกตางกัน วิธีดําเนินการวิจัยไดนําแบบทดสอบที่ใชในการประเมินเพื่อวินิจฉัยทักษะความสามารถทางพุทธิปญญาของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนตน ในการแกปญหาเรื่องสมการเชงิเสนตัวแปรเดียว ซึ่งพัฒนาขึ้นดวยวิธีการตาม แนวคิดของ Embretson’s Cognitive Design System Approach (CDS Framework) ไปใชสอบกับนักเรียน จํานวน 1,214 คน และทําการวิเคราะหขอมูลเพื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพของโมเดลการวินิจฉัยเชิงจําแนก คือ G–DINAModelและ DINAModel ตามตัวแปรปจจัยที่สงผลตอความแตกตางของความสามารถในการใชทักษะ ทางพุทธิปญญาเพื่อการหาคําตอบของปญหา ผลการวิจัยปรากฏวา G–DINAModelเปนโมเดลที่ใหคาดัชนีความ สอดคลองของโมเดลในเชิงสัมบูรณและคาดัชนีความสอดคลองของโมเดลในเชิงสัมพัทธต่ํากวาคาที่ไดจาก DINA Model ในทุกเงื่อนไขของการวิเคราะห แสดงใหเห็นวา G–DINA Model เปนโมเดลที่ใหประสิทธิภาพในการ วิเคราะหขอมูลในเชิงการวินิจฉัยดีกวา DINA Model ทั้งการวิเคราะหกับกลุมนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนตนรวมทุกระดับชั้น การวิเคราะหกับกลุมของนักเรียนที่มีระดับชั้น เพศ และแผนการเรียน แตกตางกันThe main purpose of this research study was to compare the efficiency of diagnostic classification modelsforusing todiagnose the lower secondary schoolstudents’ cognitive skills in solving the linear equation problems. The diagnostic test, which was developed by using Embretson's Cognitive Design System Approach (or CDS framework), was used to administer 1,214 lower secondary school students. Data from the assessment were analyzed by using two diagnostic classification models, G–DINA and DINA model in the four conditions. The first condition, all data were analyzed by G–DINA and DINA model. The second condition, the data were classified in three groups of student’s level (1st grade, 2rd grade, and 3nd grade). The third condition, the data were classified in two group of student’s gender (male and female). The fourth condition, the data were classified in two group of student’s academic plan (sciences–mathematics plan and general plan).The results showedthe absolute fit index and the relative fit index of G–DINA modelwas lower than these ofDINA modelwas in all conditions, thereforeG–DINA modelwas more effective model to analyze the data thanDINA model.Downloads
Issue
Section
Articles