การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรประเมินสมรรถนะความจําขณะคิดดานภาษาสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย

Authors

  • สุรเชษฐ พินิจกิจ
  • สุพิมพ์ ศรีพันธวรสกุล
  • กนก พานทอง

Keywords:

ความจำ, โปรแกรมคอมพิวเตอร์, การเขียนโปรแกรม (คอมพิวเตอร์) ความจำขณะคิด

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอรประเมินสมรรถนะความจําขณะคิดดานภาษา สําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายและตรวจสอบความตรงตามเกณฑสัมพันธของโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นเทียบกับ โปรแกรมมาตรฐาน Automated Complex Span Task: CSTs ซึ่งเปนโปรแกรมที่ใชในการประเมินสมรรถนะ ความจําขณะคิดดานภาษา พัฒนาโดย Unsworth et al. (2005) ทํางานดวยโปรแกรม Inquisit 4.0 Lab การ วิจัยมี2 ขั้นตอน คือ 1) การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร และ 2)การตรวจสอบความตรงตามเกณฑสัมพันธของ โปรแกรมคอมพิวเตอรที่พัฒนาขึ้นเทียบกับโปรแกรมมาตรฐาน CSTs กลุมตัวอยางเปนนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4 ปการศึกษา 2557 โรงเรียนชลกันยานุกูล แสนสุข จังหวัดชลบุรี จํานวน 54 คน ไดมาจากการสุมแบบกลุม เครื่องมือที่ใชในการวิจัย คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร ประกอบดวยกิจกรรมประเมินแบบซับซอนสองกิจกรรม คือ กิจกรรมขณะคํานวณและกิจกรรมขณะอาน โปรแกรมมาตรฐาน CSTsและแบบประเมินความพึงพอใจในการใช โปรแกรม วิเคราะหขอมูลดวยคาสถิติพื้นฐานและตรวจสอบความตรงตามเกณฑสัมพันธโดยใชคาสัมประสิทธิ์ สหสัมพันธเพียรสัน ผลการวิจัยปรากฏวา 1.โปรแกรมคอมพิวเตอรประเมินสมรรถนะความจําขณะคิดดานภาษาสําหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ตอนปลายที่พัฒนาขึ้นในบริบทภาษาไทย ประกอบดวยกิจกรรมประเมินแบบซับซอนสองกิจกรรม คือ กิจกรรรม ขณะคํานวณและกิจกรรมขณะอาน ทํางานดวยโปรแกรมสําเร็จรูป Super Lab 5.0 สามารถประเมินผานหนา จอคอมพิวเตอรโดยใชเมาสเปนอุปกรณหลักและโปรแกรมสามารถแสดงผลการประเมินไดเชนเดียวกับโปรแกรม มาตรฐาน CSTs และมีผลการประเมินความพึงพอใจในการใชงานโปรแกรมดานความสะดวกในการใชงานและ ดานลักษณะทั่วไปของโปรแกรมอยูในระดับมาก 2. โปรแกรมที่พัฒนาขึ้นมีความตรงตามเกณฑสัมพันธเทียบกับโปรแกรมมาตรฐาน CSTs อยางมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ.01The objectives of this research were to develop a computer program for phonological working memory assessment of upper secondary school students and to evaluate the criterionrelated validity of the developed program compared with the standard program, Automated Complex Span Tasks (CSTs). The research were divided into two steps: 1) develop a computer program for phonological working memory assessment of upper secondary school students, and 2) evaluate the criterion-related validity of the computer program compared with the standard program CSTs. The sample includes 54 upper secondary school students in the academic year 2014 from Chonkanyanukul Saensuk School, Chon Buri province by cluster random sampling. The research instrument were a computer program for phonological working memory assessment of upper secondary school students consisted of two complex span tasks (operation span task (OS) and reading span task (RS)), standard program CSTs, and satisfaction questionnaires on using computer program. Data were analyzed by using basic statistical analysis and Pearson’s correlation coefficient to determine the criterion-related validity of developed program. The results showed that: 1. The developed computer program in Thailand context consisted of two complex span tasks, operation span task and reading span task worked on Super Lab 5.0 program. The program featured several forms and methods of assessment and evaluation that were being displayed across the personal computer (PC) screen by using the mouse driven similar to the CSTs standard program. A satisfaction on using computer program is on a good level for both the ease of use and its generalization. 2. The developed computer program meets the criterion-related validity with standard program CSTs at a significant level of .01.

Downloads