การเปรียบเทียบทักษะชีวิตของนักศึกษาอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระหว่างเพศและรูปแบบการเรียนรู้

Authors

  • สุรศักดิ์ อิ่มเอี่ยม
  • ภัทราวดี มากมี

Keywords:

ทักษะชีวิต, นักศึกษาอาชีวศึกษา, รูปแบบการเรียนรู้, เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก

Abstract

          การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างแบบประเมินรูปแบบการเรียนรู้ วิเคราะห์องค์ประกอบของทักษะ ชีวิตและเปรียบเทียบทักษะชีวิตของนักศึกษาอาชีวศึกษาในเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออกระหว่างกลุ่มเพศ   และรูปแบบการเรียนรู้ เก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณด้วยแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาอาชีวศึกษา ปีการศึกษา 2561 จำนวน 1,030 คน ได้มาจากวิธีสุ่มแบบหลายขั้นตอนและ  การวิเคราะห์ความแปรปรวนพหุคูณแบบสองทาง ผลการวิจัยพบว่า          1. รูปแบบการเรียนรู้ ประกอบด้วย 4 รูปแบบ ดังนี้ เรียนรู้ได้ดีจากการมองเห็น เรียนรู้ได้ดีจากการ พูดคุยเรียนรู้ได้ดีจากการอ่าน/เขียน และเรียนรู้ได้ดีจากการลงมือทำ          2. องค์ประกอบของทักษะชีวิต ประกอบด้วย การตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การ คิดอย่างมีวิจารณญาณ การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างสัมพันธภาพ การเห็นอกเห็นใจผู้อื่น การ ตระหนักรู้ในตนเอง การจัดการกับอารมณ์ และการจัดการกับความเครียด ความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์          3. นักศึกษาอาชีวศึกษาที่เพศแตกต่างกันมีทักษะชีวิตที่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ซึ่งเมื่อพิจารณาแต่ละด้านพบว่า มีการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ การสร้างสัมพันธภาพ การตระหนักรู้ใน ตนเองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ขณะที่การตัดสินใจ การแก้ไขปัญหา การคิดสร้างสรรค์ การจัดการกับอารมณ์และการจัดการกับความเครียดแตกต่างกันเมื่อเพศต่างกันอย่างมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนนักศึกษาอาชีวศึกษาที่รูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน มีทักษะชีวิตไม่แตกต่างกัน นักศึกษาอาชีวศึกษาที่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างเพศกับรูปแบบการเรียนรู้ที่แตกต่างกัน จะมีทักษะชีวิตที่แตกต่าง กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 พิจารณาต่ละด้านพบว่า ด้านการเห็นอกเห็นใจผู้อื่น (EM) ทักษะด้านการจัดการกับอารมณ์ (CE) และทักษะด้านการจัดการกับความเครียด (CS) แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05           The objectives of this research were to create an evaluation form of learning style, Confirmatory Factor Analysis model and comparison of life skills of vocational students in eastern special development zone between gender and learning style. A five-level rating scale questionnaire was used for collecting data. The sample consisted of 1,030 vocational students in academic year 2018 derived from multistage random sampling. Data were analyzed by Two-Way MANOVA.          The results were as follows:          1. The learning style of vocational students consist of 4 forms as follows: Visual learners, Aural learners, Read/Write learners and Kinesthetic learners          2. Confirmatory Factor Analysis of life skills for vocational students consisted of 10 components; Decision making, Problem solving, Creative thinking, Critical thinking, Effective communication, Interpersonal relationship, Self-awareness, Empathy, coping with emotions and Coping with stress. The developed model was consistent with empirical data.         3. There was a statistically significant difference at the .01 level between genders on life skills. When considering each core, there was Effective communication, Interpersonal relationship and Self-awareness significant differences at the .01 while Decision making, Problem solving, Creative thinking, coping with emotions and Coping with stress were significant differences at the .05 level. There was not statistically significant difference between learning style on life skills. There was a statistically significant difference at the .01 level between genders on life skills. When considering each core, there was Effective communication, Interpersonal relationship and Self-awareness significant differences at the .01 while Decision making, Problem solving, Creative thinking, coping with emotions and Coping with stress were significant differences at the .05 level. There was not statistically significant different between learning style on life skills. There was a statistically significant difference at the .01 level between genders interaction with learning style on life skills will have Empathy (EM) Coping with Emotions (CE) and Coping with Stress (CS) significant differences at the .05

Downloads