การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับ เทคนิค DAPIC เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Keywords:
การจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐาน, เทคนิค DAPICAbstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับเทคนิค DAPIC เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 75/75 2) เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับเทคนิค DAPIC กับเกณฑ์ร้อยละ 75 3) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับเทคนิค DAPIC กับเกณฑ์ร้อยละ 70 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา2558 โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสัย อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ จำนวน 42 คน โดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับเทคนิค DAPIC เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน 2) แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3) แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ 4) แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสมมติฐานใช้ t–test (One-samples) ผลการวิจัยปรากฏดังนี้1. การพัฒนากิจกรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับเทคนิค DAPIC เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีประสิทธิภาพ 89.87/83.24 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์ 75/752. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน เรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับเทคนิค DAPIC สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 75 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .013. ความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์และความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนเรื่อง โจทย์ปัญหาระคน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดสมองเป็นฐานร่วมกับเทคนิค DAPIC สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01The purposes of this research were 1) to develop mathematics learning activities usingBrain-Based Learning together with DAPIC technique on mix-problems for Prathomsuksa 4 with arequired efficiency of 75/75 2) to compare learning achievement on mix-problems for Prathomsuksa4 who learned using Brain-Based Learning together with DAPIC technique with 75 percentagethreshold 3) to compare problem solving ability and critical thinking ability on mix-problems forPrathomsuksa 4 who learned using Brain-Based Learning together with DAPIC technique with 70percentage threshold. The sample group was 42 Prathomsuksa 4 students in KalasinpittayasaiSchool, Mueang, Kalasin, enrolled in semester 2, 2015, selected by Cluster Random Sampling.The instruments used for the study comprised of: 1) plans for learning activities using Brain-BasedLearning together with DAPIC technique on mix-problems. 2) test of learning achievement 3) test ofproblem solving ability 4) test of critical thinking ability. The statistics used for analyzing data werepercentage, mean, standard deviation. The t – test (One-samples) were used for the hypothesistesting. The results of the study were as follows:1. Development of mathematics learning activities using Brain-Based Learning together withDAPIC technique on mix-problems for Prathomsuksa 4 had efficiencies of 89.87/83.24 which washigher than the criterion set at 75/75.2. On mix-problems for Prathomsuksa 4 who learned using Brain-Based Learning togetherwith DAPIC technique more learning achievement than 75 percentage threshold level of statisticalsignificance .01.3. On mix-problems for Prathomsuksa 4 who learned using Brain-Based Learning togetherwith DAPIC technique more problem solving ability and critical thinking ability than 70 percentagethreshold level of statistical significance .01.Downloads
Issue
Section
Articles