ผลการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลังโดยใช้กระบวนการกลุ่ม เพื่อพัฒนาพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กอนุบาล

EFFECTS OF LEARNING EXPERIENCE MANAGEMENT USING COLLABORATIVE LEARNING WITH GROUP PROCESS ON PROSOCIAL BEHAVIORS OF KINDERGARTENERS

Authors

  • ณสิกาญจน์ ดำริวัฒนเศรษฐ์
  • ศิรประภา พฤทธิกุล
  • สุกัลยา สุเฌอ

Keywords:

การเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลัง, กระบวนการกลุ่ม, พฤติกรรมเสริมสร้างสังคม, เด็กอนุบาล, Collaborative Learning, Group process, Prosocial Behavior, Kindergarteners

Abstract

การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กอนุบาลก่อนและหลังการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลังโดยใช้กระบวนการกลุ่ม กลุ่มตัวอย่างคือเด็กอนุบาล อายุ 5-6 ปี โรงเรียนเซนต์โยเซฟทิพวัล สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จำนวน 32 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลังโดยใช้กระบวนการกลุ่ม และแบบสังเกตพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กอนุบาล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบที (t-test) ผลการวิจัย พบว่า 1) เด็กอนุบาลมีพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมก่อนการทดลองอยู่ในระดับควรส่งเสริม หลังการทดลองอยู่ในระดับดี 2) เด็กอนุบาลมีพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบร่วมมือรวมพลังโดยใช้กระบวนการกลุ่มสามารถนำไปใช้พัฒนาพฤติกรรมเสริมสร้างสังคมของเด็กอนุบาลได้  The purposes of this quasi-experimental research were to study and compare the prosocial behaviors among kindergarteners before and after learning experience management using collaborative learning with group process. Research sample consisted of 32 kindergarteners aged 5 to 6 years at St. Joseph Tippawan School, Samutprakan Primary Educational Service Area Office 1, in the second semester of the academic year 2020. Research instruments were lesson plans of learning experience management using collaborative learning with group process and observation form of kindergarteners’ prosocial behaviors. The statistic used for data analysis were mean, standard deviation, and independent t-test. Major findings were as follows: 1) The kindergarteners’ prosocial behaviors before the experiment was at a needs improvement level, after the experiment at a good level. 2) The kindergarteners’ prosocial behaviors after the experiment was significantly higher than those before, at the .05 level. This research results revealed that learning experience management using collaborative learning with group process can be used to develop prosocial behaviors among kindergarteners.      

References

กาญจนา สิงหเรศร์. (2551). ผลของการจัดกิจกรรมประกอบอาหารแบบร่วมมือที่มีต่อพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย. ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

กรมวิชาการ. (2543). แนวทางการบริหารโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู้. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.

กิดานันท์ มะลิทอง. (2548). ไอซีทีเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดอรุณการพิมพ์.

ชลิดา ชวนานนท์. (2552). ผลของกิจกรรมกลุ่มที่มีต่อทักษะทางสังคมของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

ดวงเดือน ศาสตราภัทร และ พัชรี ผลโยธิน. (2555). ขอบข่ายการวัดประเมินพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจและสังคมของเด็กปฐมวัย. ใน อริศรา แก่นอ้วน (บ.ก.), แนวการศึกษาชุดวิชา หลักการและ แนวคิดทางการศึกษาปฐมวัยศึกษา, (9-20). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

ทิศนา แขมมณี. (2561). ศาสตร์การสอน (พิมพ์ครั้งที่ 22). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นิภา เกษตรสมบูรณ์. (2558). ผลการจัดประสบการณ์แบบโครงการโดยใช้กระบวนการกลุ่มที่มีต่อทักษะพื้นฐานทางคณิตศาสตร์ของเด็กปฐมวัย. ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

บุญปารถนา มาลาทอง, วิมลรัตน์ จติรานนท์ และ สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์. (2563). ความสามารถด้านการอ่านและการเขียนภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือเทคนิค CIRC ร่วมกับแบบฝึกการอ่านและการเขียนภาษาไทย. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา. 1(1), 36.

พิจิตรา ธรรมสถิตย์. (2552). ผลของการเรียนแบบร่วมมือผ่านเว็บโดยใช้กรณีตัวอย่างด้วยการแบ่งกลุ่มสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการแข่งขัน ระหว่างกลุ่มด้วยเกมที่มีต่อความสามารถในการคิดแก้ปัญหา และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมของนักเรียนมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาโสตทัศนศึกษา ภาควิชาหลักสูตรการสอนและเทคโนโลยีทางการศึกษา คณะครุศาสตร์. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรเพ็ญ บัวทอง. (2555). ผลของการจัดกิจกรรมศิลปะ สร้างสรรค์ด้วยวัตถุธรรมชาติท้องถิ่นที่มีต่อพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศศนันท์ สุขสถิต. (2554). ศึกษาโปรแกรมกิจกรรมนันทนาการเพื่อพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมของเด็กปฐมวัย. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการนันทนาการ, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2555). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. (2542). การปฏิรูปการเรียนรู้ตามแนวคิด 5 ทฤษฎี. กรุงเทพมหานคร: ไอเดียสแควร์.

สิริมา ภิญโญอนันตพงษ์. (2550). เอกสารประกอบการเรียนวิชา 'EcED 201 การศึกษาปฐมวัย Early Childhood Education. กรุงเทพฯ: หลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิตสาขาการศึกษาปฐมวัย.

สุรางค์ โค้วตระกูล. (2553). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุริยเดว ทรีปาตี. (2553). ละครแรง เด็กร้าย. ในสุทธิวรรณ ตัญญพงศ์ปรัชญ์, Colorbar: รายงานพิเศษเรื่องการเฝ้าระวังสื่อ,65-66 พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ออฟเซ็ท ครีเอชั่น.

สุวิทย์ มูลคำ และ อรทัย มูลคำ. (2547). วิธีการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาความรู้และทักษะ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ภาพพิมพ์.

เสฏฐวุฒิ ไชยฮั่ง และ วายุ กาญจนศร. (2563). การพัฒนาทักษะลีลาศจังหวะชะชะช่า โดยการจัดการเรียนรู้แบบกลุ่มเพื่อนช่วยเพื่อนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนส่องดาววิทยาคม. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. 31(2), 116.

อมรรัตน์ สารบัญ. (2563). การพัฒนาพฤติกรรมทางสังคมของนักเรียนชั้นปฐมวัย โดยการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์เน้นกระบวนการกลุ่ม. วารสารศิลปศาสตร์ มทร.ธัญบุรี. 1(2), 136

Baumeister, R. F., & Bushman, B. J. (2008). Social psychology and human nature. Florida : Thomson Wadsworth.

Beaty, J. J. (2005). Observing development of the young child. New Jersey: Merrill Prentice Hall.

Burry, S., & Judith, O. (1996). Rater agreement indexes for performance Assessment. Educational and Psychological Measurement. 56(2): 256.

Ciampa, C. Farr, J. & Kaplan K. (2000). Improving social competencies through the use of cooperative learning and conflict resolution, Eric Education Resource Information Center.

Eisenberg, M. E., Olson, R. E., Neumark-Sztainer, D., Story, M., & Bearinger, L. H. (2004).

Correlations between family meals and psychosocial well-being among adolescences. Arch pediatr adolesc med.

Mussen, P., & Eisenberg-Berg, N. (1977). Roots of caring, sharing, and helping: The development of pro-social behavior in children. W. H. Freeman.

Johnson, D.W. and Johnson, F.P. (2003). Joining Together: Group Theory and Group Skill. (8th ed.). Boston: Allyn and Bacon.

Downloads

Published

2022-10-10