แนวทางการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วมในการวิจัยทางการศึกษา

An Analysis of Covariance (ANCOVA) in Educational Research

Authors

  • อรพิณ พัฒนผล
  • วรรณี สุจจิตร์จูล

Keywords:

การวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม, การวิจัยทางการศึกษา, Analysis of Covariance, Educational Research

Abstract

การวิจัยเชิงทดลอง เป็นงานวิจัยที่มุ่งการศึกษาผลของตัวแปรตามที่มีอิทธิพลจากตัวแปรต้นแต่ในการศึกษาวิจัยทางการศึกษา ซึ่งเป็นการวิจัยทางสังคมศาสตร์อาจมีตัวแปรแทรกซ้อนที่ไม่สามารถควบคุมได้เกิดขึ้น บทความนี้มุ่งนําเสนอวิธีการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม (Analysis of Covariance : ANCOVA) ซึ่งเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยลดความคลาดเคลื่อนของตัวแปรแทรกซ้อนที่จะส่งผลต่อตัวแปรตามได้ และเหมาะสมกับการปฏิบัติงานวิจัยที่ผู้วิจัยไม่สามารถที่จะดำเนินการควบคุมโดยการออกแบบการทดลองได้ เช่น การทําให้ตัวอย่างมีความเหมือนกันหรือเท่าเทียมกัน การควบคุมโดยการวางแบบแผนการทดลอง ทั้งนี้ในการวิเคราะห์ข้อมูลผู้วิจัยต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการของการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ข้อตกลงเบื้องต้น แนวทางการวิเคราะห์ การนำเสนอและการแปลผล เพื่อนำไปสู่ผลการวิจัยที่มีความน่าเชื่อถือ และสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้  Experimental research is a scientific investigation that examines the influence of independent variables on dependent variables. However, educational research, as a social science, often involves extraneous variables that can confound the relationship between the independent and dependent variables. The purpose of this article is to introduce the analysis of covariance (ANCOVA) as a method for minimizing the error variance caused by extraneous variables. ANCOVA is particularly useful in situations where researchers have limited control over the experimental design, such as in matching or controlling for the experimental design. In order to ensure that the research results are reliable and useful, it is essential for the researcher to understand the underlying principles of ANCOVA, including assumptions, analytical approach, presentation, and interpretation.

References

ศรัญญู เปลรินทร์ และคณะ. (2560). การเปรียบเทียบผลการเรียนประเด็นปัญหาทางสังคมที่เกี่ยวข้องกับการใช้วิทยาศาสตร์โดยใช้การเรียนแบบผสมผสานตามรูปแบบของ Lin และ Mintzers และการเรียนแบบผสม ผสานตามวัฏจักรการเรียนรู้ 5 ขั้นที่มีต่อความสามารถในการโต้แย้งและการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ที่มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ทางการเรียนต่างกัน. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 11(3), 151-164.

วรรณี แกมเกตุ. (2551). วิธีวิทยาการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Campbell, D.T. and Stanley, J.C. (1963). Experimental and Quasi-Experimental Designs for Research on Teaching. In: Gage, N.L., Ed., Handbook of research on teaching, Rand McNally, Chicago, IL, 171-246.

Cohen, J. (1977). Statistical Power Analysis for Behavioral Sciences. New York: Academic Press.

Cooper, H. (2018). Reporting quantitative research in psychology: How to meet APA Style Journal Article Reporting Standards (2rd ed.). American Psychological Association.

Kerlinger, F. N., Lee, H. B., & Bhanthumnavin, D. (2000). Foundations of behavioral research: The most sustainable popular textbook by Kerlinger & Lee (2000). Journal of Social Development, 13, 131-144.

Mertler, C. A., & Vannatta, R. A. (2016). Advanced and multivariate statistical methods: Practical application and interpretation (6th ed.). New York: Routledge,Taylor & Francis Group.

Rutherford, A. (2011). ANOVA and ANCOVA: a GLM approach (2nd ed.). New York: Wiley.

StataCorp. (2003). STATA Reference Manual Release 10. Texas: Stata Press.

Tabachnick, B. G., & Fidell, L. S. (2007). Using Multivariate Statistics (5th ed.). New York: Allyn and Bacon.

Wildt, A.R., & Ahtola, O. (1978). Analysis of covariance. Beverly Hills: Sage.

Downloads

Published

2023-04-12