นวัตกรรมการคิดเชิงการออกแบบร่วมกับจิตวิทยาการปรึกษาในสถานการณ์วิกฤตโลก

The Innovation of Design Thinking with Counseling Psychology in A Global Crisis Situation

Authors

  • วุฒิชัย โยตา

Keywords:

นวัตกรรมการคิดเชิงการออกแบบ, จิตวิทยาการปรึกษา, สถานการณ์วิกฤตโลก, Innovation of Design Thinking, Counseling Psychology, Global Crisis Situation

Abstract

บทความวิชาการนี้มุ่งเน้นไปถึงการจัดการปัญหาความเครียดที่เกิดขึ้นโดยใช้กระบวนการคิดเชิงการออกแบบ ได้แก่ การทำความเข้าใจเชิงลึก การตีความปัญหา การระดมความคิด การพัฒนาต้นแบบ และการทดสอบต้นแบบ ร่วมกับหลักจิตวิทยาการปรึกษาเพื่อสร้างนวัตกรรมการคิดเชิงการออกแบบร่วมกับจิตวิทยาการปรึกษาซึ่งเป็นกระบวนการคิดที่ทำความเข้าใจในปัญหาต่าง ๆ อย่างลึกซึ้งโดยให้ผู้ใช้หรือผู้รับการปรึกษาเป็นศูนย์กลาง มีการนำเอาความคิดที่สร้างสรรค์และมุมมองจากหลายคนนำมาสร้างไอเดีย เป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาและนำมาทดสอบ รวมถึงพัฒนาให้ได้นวัตกรรมที่ตอบโจทย์กับผู้ใช้หรือผู้รับการปรึกษาให้เหมาะสมกับสถานการณ์วิกฤติโลกที่สามารถตอบสนองต่อความต้องการ ความคาดหวัง และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น รวมถึงนำไปสู่เป้าหมายของแต่ละคนได้อย่างชัดเจน และนำไปใช้เป็นแนวทางที่จะสามารถช่วยการจัดการกับปัญหาความเครียดภายใต้สถานการณ์วิกฤตต่าง ๆ สำหรับประชาชนทั่วไปและใช้ในหน่วยงานองค์กรภาครัฐและเอกชนได้อย่างสร้างสรรค์ ทันสมัย คุณค่าและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  This article focuses on managing stress problems. It applied design thinking processes, comprising empathize, define, ideate, and test design thinking approaches, to the principles of counseling psychology to create the innovation of design thinking with counseling psychology. It is a process of thinking to understand problems with the users or clients at the center. It brings together creativity and different perspectives to create ideas for solving problems and testing, as well as developing innovations that meet the needs and expectations of the users or clients in a global crisis situation and help them achieve their goals. The insights of this paper can be used as guidelines for individuals to manage stress problems in crisis situations, and for governmental and private organizations for enhancing creativity, modernization, value, and efficiency.

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2563). รายงานสถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019. กระทรวงสาธารณสุข.

กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (2558). คู่มือแบบวัดกรมสุขภาพจิต. กระทรวงสาธารณสุข.

กาญจนา ไชยพันธุ์. (2541). กระบวนการกลุ่มทางการศึกษา. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

กาญจนา ลือมงคล. (2564). ความเครียดของนักเรียนมัธยมศึกษาที่มีการเรียนออนไลน์ในช่วงการระบาดของโรคโควิด-19 ในโรงเรียนแห่งหนึ่ง อำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ. ชัยภูมิเวชสาร, 41(2), 11-20.

ทรงวุฒิ ชนะอุดมสุข และธีระวุธ ธรรมกุล. (2565). ภาวะความเครียดในช่วงวิกฤตโควิด-19 ของบุคลากรสาธารณสุขอำเภอปราณบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี, 20(1), 63-76.

นุชจรี กิจวรรณ. (2561). กระบวนการคิดเชิงออกแบบ: มุมมองใหม่ของระบบสุขภาพไทย. วารสารสภาการพยาบาล, 33(1), 5-14.

ไปรมา อิศรเสนา ณ อยุธยา และชูจิต ตรีรัตนพันธ์. (2560). การคิดเชิงออกแบบ: เรียนรู้ด้วยการลงมือทำ (Design thinking: learning by doing). ศูนย์สร้างสรรค์งานออกแบบ (TCDC).

วัชรี ทรัพย์มี. (2546). ทฤษฎีให้บริการปรึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศุภวิชย์ บุญดีสกุลโชค, ศรัณย์ วีรเมธาชัย และธนกมณ ลีศรี. (2565). ความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะเครียดและภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโควิด 19 ณ โรงพยาบาลสนาม เครือข่ายโรงพยาบาลสระบุรี. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9, 16(2), 367-379.

สกุลศรี ศรีสารคาม. (2565). การสร้างโมเดลต้นแบบเพื่อพัฒนาทักษะการคิดและรู้เท่าทันสื่อหลากแพลตฟอร์มของผู้ผลิตสื่อด้วยกระบวนการเล่าเรื่องข้ามสื่อและการคิดเชิงออกแบบ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 14(1), 293-307.

Abookire, S., Plover C., Frasso R., & Ku B. (2020). Health design thinking: An innovative approach in public health to defining problems and finding solutions. Frontiers in Public Health, 8, 1-6.

Becker, S. P., & Gregory, A. M. (2020). Editorial perspective: Perils and promise for child and adolescent sleep and associated psychopathology during the COVID-19 pandemic. The Journal of Child Psychology and Psychiatry and Allied Disciplines, 61(7), 757–759.

Gao, C., & Scullin, M. K. (2020). Sleep health early in the coronavirus disease 2019 (COVID-19) outbreak in the United States: Integrating longitudinal, cross-sectional, and retrospective recall data. Sleep Medicine, 73, 1-10.

Jiang, N., Yan-Li, S., Pamanee, K., & Sriyanto, J. (2021). Depression, anxiety, and stress during the COVID-19 pandemic: Comparison among higher education students in four countries in the Asia-Pacific region. Journal of Population and Social Studies, 29, 370-383.

Sharma, A., Farouk, I. A., & Lal, S. K. (2021). COVID-19: A review on the novel coronavirus disease evolution, transmission, detection, control and prevention. Viruses, 13(202), 1-25.

World Health Organization. (2020). Report of the WHO-China joint mission on coronavirus disease 2019 (COVID-19). https://www.who.int/publications/i/item/report-of-the-who-china-joint-mission-on-coronavirus-disease-2019-(covid-19)

Downloads

Published

2023-09-19