คุณลักษณะภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหารของผู้นำชุมชนท้องถิ่น กรณีศึกษา : เทศบาลตำบล นางแล อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
Leadership characteristics that affect the management competence of local community leaders. Case study: Nang Lae Sub District Municipality, Muang Chiang Rai District, Chiang Rai Province
Keywords:
คุณลักษณะภาวะผู้นำ, สมรรถนะการบริหาร, ผู้นำชุมชนท้องถิ่นAbstract
การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาคุณลักษณะภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อสมรรถนะ การบริหารของผู้นำชุมชนท้องถิ่น กรณีศึกษาเทศบาลตำบลนางแล อำเภอเมือง จังหวัดเชียงราย 2) ศึกษาความสัมพันธ์คุณลักษณะภาวะผู้นำกับสมรรถนะการบริหารของผู้นำชุมชนท้องถิ่น ตามความคิดเห็นของผู้นำชุมชนท้องถิ่น และ 3) แนวทางการพัฒนาคุณลักษณะภาวะผู้นำกับสมรรถนะการบริหารของผู้นำชุมชนท้องถิ่น เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้ในการวิจัยคือ ผู้นำชุมชนและผู้บริหาร เทศบาลตำบลนางแล อำเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย จำนวน 41 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปในการหาค่าสถิติพื้นฐาน และการวิเคราะห์สมการการถดถอย เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า คุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้นำชุมชนท้องถิ่น โดยภาพรวม อยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย = 4.22) รายการที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ มีความคาดหวังต่องานด้วยความมั่นใจว่าจะสามารถปฏิบัติงานที่มีมาตรฐานสูงได้สำเร็จ (ค่าเฉลี่ย = 4.54) และระดับสมรรถนะการบริหารผู้นำชุมชนท้องถิ่นภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด (ค่าเฉลี่ย = 4.53) โดยด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านการวางแผนและการบริหารจัดการ (ค่าเฉลี่ย = 4.61) คุณลักษณะภาวะผู้นำที่ส่งผลต่อสมรรถนะการบริหาร ทั้ง 5 ด้าน ได้แก่ ด้านการสื่อสาร ด้านการวางแผนและการบริหารจัดการ ด้านการทำงานเป็นทีม ด้านการปฏิบัติเชิงกลยุทธ์ และด้านบริหารตนเอง ซึ่งสามารถอธิบายได้ว่าสมรรถนะการบริหาร (R2) ได้ร้อยละ 42.5 โดยมีค่าความคาดเคลื่อนมาตรฐาน (SE) เท่ากับ 0.223 The objectives of the study were 1) To study the leadership characteristics that affect the management competence of local community leaders. 2) To study the relationship between leadership characteristics that affect the management competence of local community leaders. And 3) guidelines for the development of leadership characteristics and administrative competence of local community leaders. This research is a quantitative research. The samples used in the research were Community Leaders and Executives in Nang Lae Sub District Municipality, Muang Chiang Rai District, Chiang Rai Province of 41 people. The research instrument was a questionnaire. The data were analyzed by using a software package for basic statistical determination. correlation and regression analysis to test the relationship. The results showed that Leadership characteristics of local community leaders The overall level was at a high level (average = 4.22). The items with the highest mean were job expectations with confidence that high standards could be achieved (average = 4.54) and the level of leadership competency. The overall local community was at the highest level (average = 4.53), with the highest mean aspect was planning and management (average = 4.61). The results of the test of leadership characteristics that affect management competency in all 5 areas: communication, planning and management, team work, strategic practice and self-management. This can be described as 42.5 percent of management competency (R2), with a standard deviation (SE) of 0.223.References
คณะรัฐมนตรี. (2554). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี นางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี แถลงต่อรัฐสภา วันอังคารที่ 23 สิงหาคม 2554 [ข้อมูลออนไลน์]. สืบค้นจาก http://www.sobkroo.com/img_news/file/A48906198.pdf [21 มกราคม 2555].
จุฑาทิพย์ สุจริตกุล และสถาบันรัชต์ภาคย์. (2562). วารสารมหาจุฬานาครทรรศ์. 6(10), 4930-4943.
ชัยวุฒิ วรพินธุ์ และผู้แต่งคนอื่น ๆ. (2557). คุณลักษณะภาวะผู้นำยุคใหม่กับสมรรถนะการบริหารงาน แบบมืออาชีพของปลัดเทศบาลในภาคกลาง. วารสารสมาคมนักวิจัย. 19, 86-96.
ชัยเสฏฐ์ พรหมศรี. (2549). ภาวะผู้นำองค์กรยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร: เอ็กซเปอร์เน็ท.
บุญทัน ดอกไธสง. (2539). การจัดการองค์การ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ประสาน หอมพูล และทิพวรรณ หอมพูล. (2540). จิตวิทยาธุรกิจ. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สถาบันราชภัฏสวนดุสิต.
ปรีชา สุวรรณภูมิ. (2554). รูปแบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิผลขององค์การบริหารส่วนตำบล ในกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มที่ 1 ประเทศไทย. วารสารสมาคมนักวิจัย. 16(3), 102-117.
รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2544). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธนธัชการพิมพ์ จำกัด.
วิภาดา คุปตานนท์. (2544: 237). การจัดการและพฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัย รังสิต.
วิสทธิณี ธานีรัตน์. (2561). สมรรถนะของผู้นำเทศบาลเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน การประชุมวิชาการ ด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1 : มนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์: พลังปัญญาเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. หอประชุมเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา, มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. วันที่ 20-21 สิงหาคม 2561.
สมคิด เลิศไพฑูรย์. (2548). กฎหมายรัฐธรรมนูญ : หลักการใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สมยศ นาวีการ. (2538). การบริหารเชิงกลยุทธ์และนโยบายธุรกิจ. กรุงเทพมหานคร: การบริหารนโยบายการค้า.
Aitken and The Education Review Office. (2015). Core Competencies for School Principal. accessed August 19, 2015. available from http//www.ero.govt.nz/Publications.htm
Ashwini Bapat and other. (2017). A Leadership Competency Model: Describing the Capacity to Lead. accessed September 9, 2017. available from http://www.safiyahsatterwhite.com/wp-content/upload 2014/11/LeadershipOnlineModel.pdf
Don Hellriegel, Susan E. Jackson, and John W. Slocum, Jr. (2005). Management: A Competency-Based Approach, 10th ed. (Singapore: Thomson South-Western, 2005), 6-26.
Fiedler, F. E. (1971). Validation and extension of the contingency model of leadership effectiveness: A review of the empirical findings. Psychological Bulletin, 76, 128-148.
Fiedler, F.E. (1971). Leadership. New York: General Learning Press.
Frederick W. Taylor. (1911). The Principal of Scientific Management. New York: The Norton Library.
Hersey, P., & Blanchard, K. H. (1969). Management of organizational behavior: Utilizing human resources. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
Hersey, P.; Blanchard, K.H., and Johnson. (1996). Management of Organizational Behavior. 7th ed. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Hollander, E. P. (1979). Leadership and social exchange processes. In K. Gergen, M. S. Greenberg, & R. H. Willis (Eds.), Social exchange: Advances in theory and research. New York: Winston/Wiley.
House, R. J. (2004). Culture, Leadership, and Organizations:
Katz, D., & Kahn, R. L. (1978). The social psychology of organizations (2nd ed.). New York: Wiley.
Kotter, J.P. (1999). On what leaders, really do. Harvard Business Review Book Boston: Harvard Business School.
Lewin, Kurt. (1997). Resolving Social Conflicts Field Theory in Social Science. New York: Happer.
Likert, Rensis. (1984). Pattern in Manage in Model for Management: The Structure of Commence. Texas: Telemetric International.
Lyle M. Spencer and Signe M. Spencer. (1993). Competency at work: Models for Superior Performance. New York: John Wiley & Sons, 1993. 9-11. 26
Michael Zwell. (2000). Creating a Culture of Competence. New York: John Wiley and Sons, 2000, 38-45.
Stogdill, E. J. (1974). Handbook of Leadership. London: Collier Macmillan Publishers.
Tead. (1935). The Art of Leadership. American Political Science Review.
Yukl, G. (1989). Leadership in organization (4th ed.). Engle Cliffs, NJ: Prentice Hall.